บทที่ 8 ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ
AS/RS คือ
…วิธีการควบคุมทางคอมพิวเตอรสําหรับการเก็บและการนำเอาสินค้าหรือ
ผลิตภัณฑ์ออกมาจากที่เก็บ...
วัตถุประสงค์ของ AS/RS
- ทําหนาที่สนับสนุนการจัดการคลังสินค้าโดยทําใหเกิดการจัดเก็บหรือนําผลิตภัณฑออกมาอย่างมี
ประสิทธิภาพมากที่สุดในดานความรวดเร็ว ความถูกต้อง การลดจํานวนคนงาน
- เพื่อใหมีขอมูล ณ. เวลาปจจุบัน(Real time) เพื่อนําไปใช้ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการคิด
ต้นทุนและงานดานบัญชีภายในโรงงาน-เนื่องมาจาก
การเก็บสินคาและการนําผลิตภัณฑไปใชถูกติดตาม
ในรูปแบบอีเลคโทรนิค
ชนิดของ AS/RS (Type of AS/RS)
- ลึกแถวเดียวจะมีคุณลักษณะคลายๆ กับแถวเดียวใน APR กับแถวแบบแคบ จะมีพาเล็ต
สองแถว
ซ้อนหลังชนหลังในระหวางแถวทางเดิน เครนยกตั้งจะเข้าถึงไดลึกหนึ่งแถวจากฝ่งใดฝ่งหนึ่ง
- ลึกสองแถวก็จะคลายคลึงกับคุณลักษณะของชั้นวางแถวลึกสองเทาเชนกัน ในกรณีจะมี
พาเล็ต
สี่แถวอยู่ในชั้นวางในระหวางแถวทางเดิน และเครนยกต และเครนยกตั้งจะถูกออกแบบมา พิเศษให้หยิบ
ลึกเขาไปในชั้นวางไดสองแถวโดยปกติแลวเครนจะเขาถึงไดทีละพาเล็ต
(เหมือนกับรถเอื้อมหยิบลึก
สองเทา) แต AS/RS บางแหงมีแถวทางเดินกวางเปนสองเทา และสามารถเข้าถึงพาเล็ตไดทีละสอง
พาเล็ต แบบหลังนี้จะช่วยเพิ่มผลิตผลของงานในช่วงระยะเวลาหน วงระยะเวลาหนึ่งๆ แต่จะใช้พื้นที่เพิ่ม
เติม
- ระบบความหนาแน่นสูง มีระบบจัดเก็บอัตโนมัติที
่จัดเก็บได้หนาแน่นมากหลายแบบให้เลือก
ในตลาด ระบบหนึ่งในจำนวนนั้นคือเครนลูกข่าย (satellite crane) satellite crane) ที่เครนยกตั้งแต่ละตัว
จะมีลูกข่ายที่สามารถเคลื่อนที่ออกจากเครนไดตามรางทีอยู่ใตชองของของพาเล็ต และวางพาเล็ต ลง
บนชั้นหรือวางพาเล็ตกลับมาที่เครนได้ ชั้นวางพาเล็ตอาจติดตั้งให้ลึก 10 แถว ใหชุดลูกขายสามารถเติม
พาเล็ตได 10 พาเล็ตในชองของชั้นวาง ดังนั้นเราจะได้มี 20 พาเล็ตซอนหลังชนหลังกันระหวางแถว
ทางเเดินแตละแถว ระบบแบบนี้เปนระบบที่จัดเฏ้บได้หนาแน่นมาก แตจะทํางานตามหลัก LIFO สําหรับ
แต่ละข่องที่มี 10 พาเล็ต ระบบที่เป็นทางเลือกอื่นๆ ยังรวมถึงการใชชั้นวางแบบไหลได้ ซึ่งอาจจะไหล
ตามแรงดึงดูดหรือไหลตามพลังงานกลที่ใสเขาไป โดยมีเครนยกตั้งใส่พาเล็ต
เข้าที่ด้านหนึ่งและดึงพา
เล็ตออกจากอีกดานหนึ่งเพื่อที่จะรักษาระบบ FIFO ไว้
การทำงานของระบบจัดเก็บในคลังสินค้าที่มีการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่
การจัดเก็บวัสดุการเบิกจ่ายวัสดุรวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย
1. รับ/ เบิกสินค้าแบบ FIFO
2. ทำงานได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
3. ลดการใช้แรงงานคน
4. ต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมาก
การทำงานของระบบจัดเก็บในคลังสินค้าที่มีการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่
การจัดเก็บวัสดุการเบิกจ่ายวัสดุรวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย
1. รับ/ เบิกสินค้าแบบ FIFO
2. ทำงานได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
3. ลดการใช้แรงงานคน
4. ต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมาก
ส่วนประกอบของ AS/RS ( AS/RS Components)
- ชั้นวางของ
- อุปกรณ์หยิบหรือจัดเก็บผลิตภัณฑ์ (S/R machine, crane,หรือ robot arm)
- ระบบ input/output
- ระบบควบคุม (control system)
ประเภทของระบบ AS/ RS แบ่งออกเป็ นแบบต่าง ๆ ดังนี้
1. Unit load AS/ RS
1. Unit load AS/ RS
1.1 ขนถ่ายวสัดุที่เป็น Pallet, ภาชนะบรรจุ, ถุง หรือกล่องต่าง ๆ (Package) ที่มีขนาด มาตรฐาน
1.2 ระบบ AS/ RS แบบ Unit load จะทำงานที่น้ำหนักของวสัดุต่อ1 หน่วย มีค่าตั้งแต่ 1,000 ปอนด์ขึ้นไป 1.3
แต่ละช่องวิ่ง (Aisle) จะมี S/ R Machine ที่สามารถเคลื่อนที่ไปตามรางและมีระบบเลื่อนสำหรับรับ-ส่งวัสดุไปยัง
พื้นที่จัดเก็บ
1.4 ระบบประกอบไปด้วยการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์, S/ R Machine ที่จะเคลื่อนที่ ไปตามรางและมีระบบ
เลื่อนสำหรับรับ-ส่งวัสดุ
1.5 เป็นระบบอัตโนมัติขนาดใหญ่
2.1 ใช้กับการจัดเก็บที่มีความหนาแน่นสูง มีปริมาณสินค้าคงคลังสูงแต่ชนิดของ สินค้า (SKUs) น้อย
2.2 การทำงานค่อนข้างคล้ายกับระบบ Unit - Load แต่ใน 1 ช่องจัดเก็บมีความลึก สามารถจัดเก็บได้มากกว่า 1 หน่วย
2.3 ชั้นวางมีการออกแบบให้น้ำหนักบรรทุกไหลเข้าไป (Flow - Through Designed) โดยแต่ละ Rack ออกแบบให้ Flow - Through การจัดเก็บวัสดุทำงานด้านหนึ่งการรับวัสดุจะทำงาน อีกด้านหนึ่ง
2.4 การออกแบบ S/ R Machine จะเข้าไปยังจุดจัดเก็บ โดยการส่งพาหนะเข้าไปในชั้น วางตามความลึกที่ต้องการ (Rack - Entry Vehicle) วางวัสดุลงและกลับมายังS/ R Machine
2.5 สามารถเก็บ Load ได้ 10 หรือมากกวา่ ใน Single Rack
3. Miniload AS/ RS
3.1 ใช้สำหรับการขนถ่ายวัสดุที่มีขนาดบรรทุกน้อย ๆ เช่น ชิ้นส่วนจะมีการบรรจุวัสดุหรือสินค้าหลายชนิดใน 1 ภาชนะบรรจุ (Container) ใช้กับ Load ขนาดเล็กซึ่งบรรจุในถังเก็บภายในระบบจัดเก็บ
3.2 น้ำหนักของวัสดุต่อหนึ่งภาชนะบรรจุ มีค่าต่า กว่า 750 ปอนด์ มีความหนาแน่นของการจัดเก็บสูง
3.3 โดยทั่วไปจะติดตั้งในอาคารที่สร้างอยู่ก่อนแล้ว มีขนาดที่ความสูงไม่เกิน 30 ฟุตลักษณะและขนาดของภาชนะบรรจุขึ้นอยู่กับการจัดเก็บในแต่ละสถานที่
3.4 ระบบการทำงาน S/ R Machine จะทำการเคลื่อนที่รับ-ส่ง ลังหรือกล่องไปที่จุดรับ-ส่ง
3.5 ชิ้นส่วนหรือสิ่งของที่อยู่ในลังจะสามารถหยิบออกไปเพียงบางชิ้นหรือทั้งหมดก็ได้
3.6 ในระบบ Mini - Load ที่จุดรับ-ส่ง มีคนงานที่ทำหน้าที่การรับและส่งวัสดุจากS/ R Machine
4.1 ระบบ Man - On - Board หรือที่เรียกว่า Man - Aboard เป็นการแก้ปัญหาความต้องการ การรับวัสดุแบบเจาะจงจากการจัดเก็บ
4.2 ในระบบนี้ผู้ทำงานจะควบคุมอยู่บน S/ R Machine ใช้คนในการขับเคลื่อน S/ RMachine มีการหยิบวัสดุแต่ละชิ้นจากตำแหน่งที่เก็บได้โดยตรง
4.3 ความแตกต่างกับระบบ Mini - Load คือ ไม่จำเป็นต้องนำลังหรือกล่องออกมายังจุดรับ-ส่ง แล้วนำเข้าไปเก็บ แต่ผู้ทำงานสามารถหยิบสิ่งที่ต้องการออกมาจากจุดจัดเก็บได้ในทันทีซึ่งหมายถึงการเพิ่มประสิทธิภาพเวลาการทำงาน
5. Automated Item Retrieval System
5.1 ระบบแบบ Automated Item Retrieval มีการออกแบบให้สามารถรับวัสดุเฉพาะโดยใช้การทำงานออกแบบชั้นวางแบบ Flow - Through ให้การจัดเก็บวัสดุทางด้านหลัง และรับวัสดุออกทางด้านหน้า ด้วยการผลักบนชั้นวางแบบ Flow - Through ให้วัสดุไหลไปบนสายพานลำเลียง
5.2 การจัดเก็บสามารถทำงานได้แบบ FIFO
5.3 ใช้สำหรับวัสดุเป็นชิ้น ๆ หรือ Load ที่มีขนาดเล็กที่เก็บในกล่อง
6. Vertical lift storage systems (VL-AS/ RS)
6.1 ระบบ Vertical Lift Storage Systems หรือ Vertical Lift Automated Storage/Retrieval Systems (VL-AS/ RS) แตกต่างจาก AS/ RS ทั่ว ๆ ไปที่ออกแบบไปตามแนวขวาง
6.2 VL-AS/ RS ออกแบบไปในแนวดิ่งให้ระบบมีความสูงมากเพื่อรองรับกับลักษณะของสินค้า โดยทั่วไปสูงตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ซึ่งจะทำให้สามารถจัดเก็บสินค้าได้ปริมาณมาก แต่ใช้พื้นที่น้อย
6.3 ใช้หลักการเหมือนแบบอื่น ๆ คือ เข้าไปรับ Load ตามช่องทางตรงกลาง ยกเว้นมันมีช่องทางในแนวตั้ง
6.4 สามารถเก็บพัสดุขนาดใหญ่ได้
6.5 ระบบนี้ช่วยประหยัดพื้นที่ว่างบนพื้นโรงงาน